|
|
 |
|
|
ตำบลคันโช้งตั้งอยู่ห่างจากจังหวัดพิษณุโลก ประมาณ 60 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงสลับเชิงเขา ประชาขนในตำบล มีการประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก ได้แก่ ทำไร่ ทำนา ทำสวน และเลี้ยงสัตว์มีแม่น้ำแควน้อยไหลผ่าน และยังมีแหล่งน้ำธรรมชาติอื่นๆอีก ที่ใช้สำหรับในการอุปโภค และบริโภค มีโครงการเขื่อนแควน้อยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตั้งอยู่ในพื้นที่ซึ่งทำให้ประชาชนในตำบล มีระบบชลประทานเพียงพอต่อ ความต้องการของเกษตรกร ในการนำไปใช้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่งผลให้ตำบลคันโช้ง เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญแห่งหนึ่งในจังหวัด อีกทั้ง เขื่อนแควน้อยยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สร้างอาชีพ และรายได้ให้กับประชาชนในตำบลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และน่าอยู่ต่อไป |
|
|
 |
|
|
|
|
ที่พักสายตรวจ จำนวน 2 แห่ง ตั้งอยู่ที่เขื่อนแควน้อยและบ้านโป่งแค |
|
|
|
   |
|
|
|
|
|
|
  |
ถนนสายท่างาม-โป่งแค ระยะทาง 46 กิโลเมตร |

 |
สำหรับเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบล และหมู่บ้านเป็นสภาพถนนคอนกรีตและถนนลูกรัง |
|
|
|
|
|
|
  |
กองทุนหมู่บ้าน |
10 |
กลุ่ม |
  |
กองทุน SML |
10 |
กลุ่ม |
  |
กองทุน กขคจ. |
9 |
กลุ่ม |
  |
กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ |
10 |
กลุ่ม |
  |
คณะกรรมการประปาหมู่บ้าน |
10 |
กลุ่ม |
  |
หัตถอุตสาหกรรมบ้านคันโช้ง |
1 |
กลุ่ม |
  |
ทอผ้า |
1 |
กลุ่ม |
|
|
|
|
|
|
|
|
แม่น้ำแควน้อย เป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลผ่านองค์การบริหารส่วนตำบลคันโช้งในหมู่ที่ 1, 2, 6, 8 ในช่วงฤดูฝนเกษตรกรที่อาศัยอยู่ทั้งสองฝั่ง ของแม่น้ำสามารถใช้ประโยชน์ในการทำไร ทำนา ทำสวน และเลี้ยงสัตว์ ในฤดูแล้งระดับน้ำจะลดลง จะใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ |
บึง หนอง และอื่นๆ ปัจจุบันมีสภาพการใช้งานได้เพียงบางแห่ง โดยอาศัยใช้ในการทำการเกษตรกรรม |
|
|
|
|
|
|
    |
|
|